ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletคณะกรรมการบริหาร
bulletหน้าที่ของ กบร.
bulletนโยบายชมรม
bulletขอบเขตรับผิดชอบอนุกรรมการ
bulletข้อบังคับชมรมฯ
bulletธนาคาร&สถาบันการเงินสมาชิก
bulletแผนการดำเนินงาน
dot
dot
bulletข้อมูล ธปท.สำหรับสถาบันการเงิน
bullet Web App. Security (OWASP Top 10)
bullet Checklist สำหรับบริหารจัดการ Cisco Router
bulletRouter Audit Tool (RAT)
bulletweb application testing
dot
dot
bulletกระทรวงการคลัง
bulletธนาคารแห่งประเทศไทย
bulletสมาคมผู้ตรวจสอบภายในฯ
bulletสมาคมธนาคารไทย
bulletISACA Bangkok
bulletสำนักงานคณะกรรมการ กลต.
bulletInformation Technology Governance (โดย อ.เมธา )
bulletThaiCERT
bulletAudit Net




นโยบายการตรวจสอบสถาบันการเงิน ปี 49 ของ ธปท. article

         ชมรมฯได้จัดประชุมตัวแทนสมาชิกของชมรมฯ  และจัดบรรยายพิเศษเกี่ยวกับนโยบายและแนวทางในการกำกับดูแลธนาคารและสถาบันการเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย ปี 2549 เมื่อวันพุธที่ 29 มีนาคม 2549  โดยมี คุณสาลินี วังตาล ท่านผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบ 1 ธนาคารแห่งประเทศไทย มาบรรยายให้ความรู้แก่สมาชิกของชมรมฯ วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ตรวจสอบของสมาชิกชมรมฯ ใช้เป็นแนวทางและนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ปฏิบัติงานตรวจสอบ  ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานตรวจสอบ และสอดคล้องตามนโยบายและแนวทางในการกำกับดูแลธนาคารและสถาบันการเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย สรุปสาระสำคัญดังนี้ . . .

           การตรวจสอบแบบ Risk Based คือ การมอบมองภาพรวม เพื่อหาจุดที่มีความเสี่ยงสูง และนำไปตรวจสอบในรายละเอียด
การมอง อดีต, ปัจจุบัน และพยายามคาดการณ์อนาคตจาก Track Record ในอดีต
วิธีมอง ข้อมูลจากเอกสารและการสัมภาษณ์ และจากข่าวสารอื่นๆ โดยคำนึงสภาพแวดล้อม ได้แก่ ภาวะเศรษฐกิจ
 สถานการณ์บ้านเมือง
ภาพรวม ธ.พ.ทั้งองค์กร โดย Focus ที่ Capital, Earning, 5 Risks
ปัจจัยสำคัญในการประเมิน
 1.ความเพียงพอของเงินกองทุน
 2.ความสามารถในการหารายได้
 3.ความเสี่ยงหลัก 5 ด้าน

1.  ความเพียงพอของเงินกองทุน
  หลักการประเมิน
 1.ดูระดับเงินกองทุนในปัจจุบัน
 2.คาดการณ์ความเพียงพอของเงินกองทุน ในอนาคด โดยคำนึงถึง
  -กำไรสะสมที่จะได้รับในแต่ละปี
  -เงินปันผลจ่าย
  -ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากปัจจัยเสี่ยงเฉพาะตัวของแต่ละ ธ.พ.
 3.  ปัจจัยเสี่ยงเฉพาะตัวของแต่ละ ธ.พ. ได้แก่
  (1)สำรองที่ต้องตั้งเพิ่มเนื่องจาก
  -NPL Re-entry
  -NPL เดิมตกชั้น
  -หลักประกันเสี่ยงมูลค่า : Indicator สำคัญคือ สำรองที่มี/NPL
  (2)ขาดทุนจากการขาย NPA ของ ธ.พ. เอง
  (3)ผลขาดทุนจากบริษัทในเครือ
  -Liquidate AMC
  -ธุรกิจการเงินที่ให้สินเชื่อ
 
2.ความสามารถในการหารายได้
 1.มองกำไรปัจจุบัน กับความสามรถในการรักษาระดับกำไรในอนาคต ซึ่งขึ้นอยู่กับ
  -คุณภาพของกำไร ความผันผวนของระดับกำไร พึ่งพารายการ One Time Transaction เยอะ
  -ศักยภาพของ ธ.พ./บุคลากร, Net Work, ระบบงานของแต่ละ ธ.พ.
 2.ROA, Spread ดอกเบี้ย
 3.สภาวะเศรษฐกิจของประเทศมีผลมาก
 
3.ความเสี่ยงหลัก 5 ด้าน ประกอบด้วย
 1.ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์
 2.ความเสี่ยงด้านเครดิต
 3.ความเสี่ยงด้านตลาด
 4.ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง
 5.ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ
 หลักการประเมินความเสี่ยงแต่ละด้าน
 1.ระดับความเสี่ยงรวม
 -ระดับความเสี่ยง (Inherent Risk) เช่น ระดับของ Credit Risk คือ อัตรา NPL
 -ประสิทธิภาพในการจัดการความเสี่ยงที่มีอยู่
 2.แนวโน้มความเสี่ยงใน 1 ปีข้างหน้า

ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์
 ปัจจัยสำคัญที่พิจารณา
 1. นโยบายและแผนธุรกิจ ธ.พ. มี Action Plan อย่างไร เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
 - เป้าหมายสินเชื่อ VS การขยายตัวจริง
 - เป้าหมายกำไร
 - นโยบายการกันสำรอง
 - Action Plan เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมาย/นโยบาย
 2. ธรรมาภิบาลในระดับกรรมการ และฝ่ายจัดการ เช่น
 - การเป็นแบบอย่างที่เหมาะสม
 - ความสมดุลระหว่างการบริหารความเสี่ยง VS การหารายได้
 - สนับสนุนให้เกิดความโปร่งใสในองค์กร
 3. ความจริงจังในการปฏิบัติตามคำสั่งของ ธปท.บางเรื่องไม่ผิด กม. แต่ถ้าปล่อยไว้จะก่อให้เกิดความเสียหายได้
    เช่น คณะกรรมการธนาคาร ไม่มีความเป็นอิสระอย่างแท้จริง

ความเสี่ยงด้านเครดิต
 -ปัจจัยสำคัญในการประเมิน ระดับความเสี่ยง
1. ระดับ NPL ธ.พ. + AMC + บริษัทในเครือ
2. TDR, NPA, Investment และอื่น ๆ ที่อาจเสื่อมคุณภาพ, อัตราการ Re-entry NPL
3. สำรองที่มี : หลักประกัน VS ขาดทุนจากการ Liquidate หลักประกัน
4. การกระจุกตัวของสินเชื่อ
 -ปัจจัยสำคัญในการประเมิน คุณภาพของสินเชื่อ
1. ประเมินคุณภาพโดยให้น้ำหนัก Cashflow  จากการดำเนินงาน VS Payment Schedule มากที่สุด
ถ้าไม่มี Cashflow จากการดำเนินงานก็พยายามหาสิ่งอื่นมาเทียบเคียง
2. ดูความสามารถของลูกหนี้ เพื่อบอกว่าเป็น NPLหรือไม่ ดูหลักประกันเวลาจะตั้งสำรอง
 -การจัดการความเสี่ยงด้านเครดิต

  กระบวนการพิจารณาสินเชื่อตั้งแต่ต้นจนจบ
1) การวิเคราะห์ลูกค้า : Internal Credit Rating  ความสมเหตุสมผลในการวิเคราะห์  ความสามารถในการชำระหนี้
2) Credit Committee : ความจริงจังในการพิจารณาสินเชื่อ, ความเป็นอิสระของกรรมการ
3) พิธีการสินเชื่อ
4) การติดตามดูแลให้ลูกหนี้ใช้เงินตามวัตถุประสงค์
5) การสอบทานคุณภาพ 

ความเสี่ยงด้านตลาด     ข้าม

ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง
 - ปัจจัยสำคัญในการประเมิน
1) L/D Ratio, การ Funding มีผลต่อ Cost ของ ธ.พ.
2) Maturity Gap : Borrow Short  VS Lending Long
3) Contingency Plan ในกรณีที่เกิดปัญหาสภาพคล่อง

ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ
 - ปัจจัยสำคัญในการประเมิน
1) บทบาทของการตรวจสอบภายใน, Audit Comment
2) ธ.พ. IT, MIS
3) การฟอกเงิน


การประเมินความเสี่ยงทั้ง 5 ด้าน จากการเข้าตรวจสอบ ธ.พ.ไทย ปี 2548
ระดับรวม (ระดับ + การจัดการ)
ความเสี่ยง สูง ค่อนข้างสูง ปานกลาง ค่อนข้างต่ำ ต่ำ
กลยุทธ์ - 4 3 4 -
เครดิต 3 3 3 2 -
ตลาด - - 4 6 1
สภาพคล่อง - - 2 6 3
ปฏิบัติการ 3 1 7 - -


เรื่องที่ให้ความสำคัญในการตรวจสอบ ธ.พ. ในปี 2549 (เพิ่มขึ้นจากที่ตรวจในปัจจุบัน)
 1. ตรวจแบบรวมกลุ่ม
  - AMC โอกาสที่จะเกิด Liquidation loan
  - ธุรกิจการเงิน Credit Risk ผลกระทบต่อ Reputation ของ ธ.พ.
  - ธุรกิจอื่น ๆ Operation, Cost Allocation
 2. ธรรมาภิบาล
 3. ศึกษาการเตรียมตัวเข้า Basel II ของ ธ.พ. ว่าพร้อมแค่ไหน โดยเฉพาะการนำ Credit Rating System ไปใช้ประกอบการพิจารณาสินเชื่อ ซึ่งเป็นหัวใจของการคิดเงินกองทุนแบบ IRB




บทความการตรวจสอบภายใน

Audit Technique article
การทุจริตบัตรเครดิตโดยการดูดข้อมูลบัตรเครดิตผ่านทางสายโทรศัพท์
7 อันดับภัยอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
วิธีการใช้บัตรเครดิตอย่างปลอดภัย
งานวิจัยบุคคลเรื่องการทุจริตบัตรเครดิต
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำทำนายอนาคตทิศทางเทคโนโลยีและภัยด้านความปลอดภัยข้อมูล
การพัฒนา การกำกับดูแลกิจการ ของต่างประเทศ
แนะนำการลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) article
9 คำถาม สำหรับตัดสินใจเลือกลงทุน RMF และ LTF article
เรื่องน่ารู้ "ทรัพย์สิน ของคู่สมรส" article
สตท. กับบริการ Quality Assurance Review article



Copyright © 2012 All Rights Reserved.
ชมรมผู้ตรวจสอบภายในธนาคาร และสถาบันการเงิน (Bank & Financial Institution Internal Auditors Club) ที่ทำการ สมาคมธนาคารไทย เลขที่ 5/13 ชั้น 4 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบลคลองเกลือ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทร. 0-2264-0883-7 โทรสาร. 0-2264-0888 สถานที่ติดต่อ ประธานและเลขาธิการกรรมการบริหารและคณะกรรมการบริหารชมรมฯ ตามระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งอยู่ โปรดดูรายละเอียดในหัวเรื่องคณะกรรมการ